การแต่งกายภาคตะวันออก ในภาคตะวันออกการแต่งกายมีลักษณะเช่นเดียวกับคนภาค การแปล - การแต่งกายภาคตะวันออก ในภาคตะวันออกการแต่งกายมีลักษณะเช่นเดียวกับคนภาค ไทย วิธีการพูด

การแต่งกายภาคตะวันออก ในภาคตะวันออก

การแต่งกายภาคตะวันออก

ในภาคตะวันออกการแต่งกายมีลักษณะเช่นเดียวกับคนภาคกลางเดิมที่ภาคนี้เรียกรวมกับคนภาคกลาง แต่เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศซึ่งต่างไปจากภาคกลางผลิตผลและภูมิอากาศคล้ายคลึงกับภาคใต้จังมีลักษณะเด่นขัดของตนเองที่แยกออกไปได้

ภาคกลางและภาคตะวันออก

ชุดไทย ร.5 - ตัวเสื้อเป็นผ้าลูกไม้เนื้อนุ่ม เอวใส่ลาสติกระบายสวยงามทั้งรอบคอและปลายแขนเสื้อ แขนตุ๊กตาติดกระดุมด้านหลังสวมใส่สบาย โจรกระเบนผ้าตราดลายไทยสอดดิ้น
เด็กหญิงในสมัยนี้ นุ่งโจงกระเบนเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ ไม่สวมเสื้อเวลาออกงานจึงสวมเสื้อคอติดลูกไม้ที่เรียกว่า เสื้อคอกระเช้า เวลาแต่งตัวเต็มที่นุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อแขนยาวคอปิดแต่งด้วยผ้าลูกไม้งดงาม สวมถุงเท้า รองเท้า เจ้านายที่ทรงพระเยาว์ ทรงฉลองพระองค์แขนยาว พองและทรงเครื่องประดับมาก ยังคงนิยมไว้ผมจุก เมื่อตัดจุกแล้วจึงเริ่มไว้ผมยาว ได้กล่าวไว้แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่มีพระราชประสงค์จะให้ชาวต่าง ประเทศดูหมิ่นเหยียดหยามคนไทยว่าแต่งกายเหมือนคนป่า จึงทรงกวดขันเรื่องนี้มากถึงกับโปรดให้ออกประกาศ 2 ฉบับ ใชับังคับราษฎร ฉบับแรกคือ
ประกาศห้ามคนแต่งตัวไม่สมควร มิให้ไปมาในพระราชฐานที่เสด็จออก โดยห้ามผู้ใหญ่ทั้งชายหญิงสวมแต่เสื้อชั้นในหรือไม่สวมเสื้อเลย หรือนุ่งกางเกงขาสั้นเหนือเข่า หรือนุ่งผ้าหยักรั้งไม่ปิดเข่าหรือนุ่งโสร่ง หรือสวมรองเท้าไม่มีถุงเท้า ไม่ว่ารองเท้าชนิดใด ๆ หรือสวมรองเท้าสลิปเปอร์ ตลอดจนเด็กที่เปลือยกายเข้ามาในบริเวณพระราชวังชั้นนอกด้านหน้ากับบริเวณวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ยกเว้นคนทำงานขนของก่อสร้าง กวาดล้าง ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนหรือพาเด็กหรือปล่อยเด็กที่แต่งกายไม่สมควรดังกล่าวล่วงเข้ามาในเขตที่กำหนดไว้ให้นายประตูขับไล่ห้ามปราม ถ้าไม่ฟังให้จับส่งศาลกระทรวงวังตัดสินโทษ ปรับไม่เกินคราวละ 20 บาท หรือขังไว้ใช้การไม่เกินคราวละ 15 วัน หรือทั้งปรับทั้งขังตามควรแก่โทษ ถ้าผู้ทำผิดเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีลงไป บิดามารดาหรือมูลนายหรือผู้เลี้ยงดูเด็กนั้น จะต้องรับโทษแทนทุกประการ ประกาศเมื่อวันที่ 20 มกราคม ร.ศ.117 (พ.ศ.2441) ให้ใช้บังคับตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ ร.ศ.117 เป็นต้นไป
ชุดราชปแตน - เป็นชุดไทยสำหรับท่านชายแบบทางการใช้ได้กับการใส่เพื่อเข้าร่วมงานพิธีแบบไทย หรือเป็นชุดสำหรับเจ้าบ่าว ในพิธีหมั้นหรือพิธีมงคลสมรส ชุดนี้โดยปกติจะใส่กับโจงกระเบนมีให้เลือก 8 สีด้วยกันตัดเป็นสำเร็จรูปขอบยางยืด
เครื่องแต่งกายของชายไทยในสมัยต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้ได้ปรับปรุงตามแบบประเพณีนิยมสากลของชาวตะวันตกเป็นครั้งแรก แต่หลังจากเสด็จประพาสอินเดีย-พม่า ในปี พ.ศ.2414 แล้ว มีพระราชดำริว่า การสวมเสื้อนอกแบบฝรั่งซึ่งต้องมีเสื้อเชิ้ต สวมข้างในแล้วยัง มีผ้าผูกคออีกด้วยนั้น ไม่เหมาะสมกับอากาศร้อนของเมืองไทย จึงโปรดให้ดัดแปลงเป็นเสื้อนอกสีขาวคอปิดติดกระดุมตลอดอก 5 เม็ด เรียกว่า “เสื้อราชแปตแตนท์ (RajPattern) ซึ่งต่อมาเรียกเพี้ยนไปเป็น “เสื้อราชปะแตน” ซึ่งแปลว่า “แบบหลวง” แต่ยังคงนุ่งผ้าม่วงสีกรมท่าเหมือนเดิม ในสมัยนี้ นิยมสวมหมวกแบบยุโรปหรือหมวกหางนกยูง ถือไม้เท้า ซึ่งมักจะใช้คล้องแขนจึงเรียกว่า “ไม้ถือ” ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ทหารนุ่งกางเกงขายาวแทนผ้าม่วงโจงกระเบนสีกรมท่า เป็นผลให้ประชาชนเริ่มนิยมนุ่งกางเกงขายาวและสวมหมวกกะโล่กันขึ้นบ้างในตอนปลายรัชกาล
การแต่งกายของชายทั่วไป ยังคงนิยมแต่งกายตามสบายเช่นเดียวกับสมัยรัชกาลก่อน ๆ คือ นุ่งผ้าลอยชาย มีผ้าขาวม้าหรือผ้าอะไรก็ได้แต่ะบ่าคลุมไหลหรือคาดพุง ซึ่งคงจะเป็นประเพณีการแต่งกายของคนไทยตามปกติมาแต่โบราณและคาดพุง ไม่นิยมใช้ผ้าแตะบ่า การนุ่งลอยชาย คือ การเอาผ้าทั้งผืนนั้นมาโอบหลังกะให้ชายผ้าข้างหน้าเท่ากัน แล้วขมวดชายพก ค่อนข้างใหญ่เหน็บแน่นติดตัว แล้วทิ้งชายห้อยลงไปข้างหน้า การนุ่งผ้าลอยชายนี้ บางคนชอบนุ่งใต้สะดือ ชายพกที่ค่อนข้างใหญ่นี้เพื่อเก็บกล่องหรือหีบบุหรี่ที่ตนชอบ ส่วนผ้าคาดพุงไม่ว่าจะเป็นผ้าขาวม้าหรือผ้าส่านหรือผ้าอะไรผูกเป็นโบเงื่อนกระทก ไว้ข้างหน้า ทิ้งชายผ้าลงมาเล็กน้อย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การแต่งกายภาคตะวันออก ในภาคตะวันออกการแต่งกายมีลักษณะเช่นเดียวกับคนภาคกลางเดิมที่ภาคนี้เรียกรวมกับคนภาคกลางแต่เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศซึ่งต่างไปจากภาคกลางผลิตผลและภูมิอากาศคล้ายคลึงกับภาคใต้จังมีลักษณะเด่นขัดของตนเองที่แยกออกไปได้ ภาคกลางและภาคตะวันออก ชุดไทย ร.5 - ตัวเสื้อเป็นผ้าลูกไม้เนื้อนุ่มเอวใส่ลาสติกระบายสวยงามทั้งรอบคอและปลายแขนเสื้อแขนตุ๊กตาติดกระดุมด้านหลังสวมใส่สบายโจรกระเบนผ้าตราดลายไทยสอดดิ้น เด็กหญิงในสมัยนี้นุ่งโจงกระเบนเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ไม่สวมเสื้อเวลาออกงานจึงสวมเสื้อคอติดลูกไม้ที่เรียกว่าเสื้อคอกระเช้าเวลาแต่งตัวเต็มที่นุ่งโจงกระเบนสวมเสื้อแขนยาวคอปิดแต่งด้วยผ้าลูกไม้งดงามสวมถุงเท้ารองเท้าเจ้านายที่ทรงพระเยาว์ทรงฉลองพระองค์แขนยาวพองและทรงเครื่องประดับมากยังคงนิยมไว้ผมจุกเมื่อตัดจุกแล้วจึงเริ่มไว้ผมยาวได้กล่าวไว้แล้วพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่มีพระราชประสงค์จะให้ชาวต่างประเทศดูหมิ่นเหยียดหยามคนไทยว่าแต่งกายเหมือนคนป่าจึงทรงกวดขันเรื่องนี้มากถึงกับโปรดให้ออกประกาศ 2 ฉบับใชับังคับราษฎรฉบับแรกคือ ประกาศห้ามคนแต่งตัวไม่สมควรมิให้ไปมาในพระราชฐานที่เสด็จออกโดยห้ามผู้ใหญ่ทั้งชายหญิงสวมแต่เสื้อชั้นในหรือไม่สวมเสื้อเลยหรือนุ่งกางเกงขาสั้นเหนือเข่าหรือนุ่งผ้าหยักรั้งไม่ปิดเข่าหรือนุ่งโสร่งหรือสวมรองเท้าไม่มีถุงเท้าไม่ว่ารองเท้าชนิดใดๆ หรือสวมรองเท้าสลิปเปอร์ตลอดจนเด็กที่เปลือยกายเข้ามาในบริเวณพระราชวังชั้นนอกด้านหน้ากับบริเวณวัดพระศรีรัตนศาสดารามยกเว้นคนทำงานขนของก่อสร้างกวาดล้างถ้าผู้ใดฝ่าฝืนหรือพาเด็กหรือปล่อยเด็กที่แต่งกายไม่สมควรดังกล่าวล่วงเข้ามาในเขตที่กำหนดไว้ให้นายประตูขับไล่ห้ามปรามถ้าไม่ฟังให้จับส่งศาลกระทรวงวังตัดสินโทษปรับไม่เกินคราวละ 20 บาทหรือขังไว้ใช้การไม่เกินคราวละ 15 วันหรือทั้งปรับทั้งขังตามควรแก่โทษถ้าผู้ทำผิดเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีลงไปบิดามารดาหรือมูลนายหรือผู้เลี้ยงดูเด็กนั้นจะต้องรับโทษแทนทุกประการประกาศเมื่อวันที่ 20 มกราคม ร.ศ.117 (พ.ศ.2441) ให้ใช้บังคับตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ ร.ศ.117 เป็นต้นไป ชุดราชปแตน - สีด้วยกันตัดเป็นสำเร็จรูปขอบยางยืดเป็นชุดไทยสำหรับท่านชายแบบทางการใช้ได้กับการใส่เพื่อเข้าร่วมงานพิธีแบบไทยหรือเป็นชุดสำหรับเจ้าบ่าวในพิธีหมั้นหรือพิธีมงคลสมรสชุดนี้โดยปกติจะใส่กับโจงกระเบนมีให้เลือก 8 เครื่องแต่งกายของชายไทยในสมัยต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้ได้ปรับปรุงตามแบบประเพณีนิยมสากลของชาวตะวันตกเป็นครั้งแรกแต่หลังจากเสด็จประพาสอินเดียพม่าในปี. มีพระราชดำริว่าการสวมเสื้อนอกแบบฝรั่งซึ่งต้องมีเสื้อเชิ้ตสวมข้างในแล้วยังแล้ว 2414 ศพมีผ้าผูกคออีกด้วยนั้นไม่เหมาะสมกับอากาศร้อนของเมืองไทยจึงโปรดให้ดัดแปลงเป็นเสื้อนอกสีขาวคอปิดติดกระดุมตลอดอก 5 เม็ดเรียกว่าเสื้อราชแปตแตนท์ (RajPattern) ซึ่งต่อมาเรียกเพี้ยนไปเป็น "เสื้อราชปะแตน" "ซึ่งแปลว่า" "แบบหลวงแต่ยังคงนุ่งผ้าม่วงสีกรมท่าเหมือนเดิมในสมัยนี้นิยมสวมหมวกแบบยุโรปหรือหมวกหางนกยูงถือไม้เท้าซึ่งมักจะใช้คล้องแขนจึงเรียกว่า "ไม้ถือ" ต่อมาในปีพ.ศ. 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ทหารนุ่งกางเกงขายาวแทนผ้าม่วงโจงกระเบนสีกรมท่าเป็นผลให้ประชาชนเริ่มนิยมนุ่งกางเกงขายาวและสวมหมวกกะโล่กันขึ้นบ้างในตอนปลายรัชกาล การแต่งกายของชายทั่วไปยังคงนิยมแต่งกายตามสบายเช่นเดียวกับสมัยรัชกาลก่อนๆ คือนุ่งผ้าลอยชายมีผ้าขาวม้าหรือผ้าอะไรก็ได้แต่ะบ่าคลุมไหลหรือคาดพุงซึ่งคงจะเป็นประเพณีการแต่งกายของคนไทยตามปกติมาแต่โบราณและคาดพุงไม่นิยมใช้ผ้าแตะบ่าการนุ่งลอยชายคือการเอาผ้าทั้งผืนนั้นมาโอบหลังกะให้ชายผ้าข้างหน้าเท่ากันแล้วขมวดชายพกค่อนข้างใหญ่เหน็บแน่นติดตัวแล้วทิ้งชายห้อยลงไปข้างหน้าการนุ่งผ้าลอยชายนี้บางคนชอบนุ่งใต้สะดือชายพกที่ค่อนข้างใหญ่นี้เพื่อเก็บกล่องหรือหีบบุหรี่ที่ตนชอบส่วนผ้าคาดพุงไม่ว่าจะเป็นผ้าขาวม้าหรือผ้าส่านหรือผ้าอะไรผูกเป็นโบเงื่อนกระทกไว้ข้างหน้าทิ้งชายผ้าลงมาเล็กน้อย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ร 5 -. ตัวเสื้อเป็นผ้าลูกไม้เนื้อนุ่ม นุ่งโจงกระเบนเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ เสื้อคอกระเช้าเวลาแต่งตัวเต็มที่นุ่งโจงกระเบน ถุงเท้ารองเท้าสวมเจ้านายที่ทรงพระเยาว์ทรงฉลองพระองค์แขนยาวพองและทรงเครื่องประดับมากยังคงนิยมไว้ผมจุกเมื่อตัดจุกแล้วจึงเริ่มไว้ผมยาวได้กล่าวไว้แล้ว 2 ฉบับใชับังคับราษฎร ให้ไปมิมาในพระราชฐานที่เสด็จออก หรือนุ่งกางเกงขาสั้นเหนือเข่า สวมรองเท้าหรือถุงเท้าไม่มีไม่ว่าได้รองเท้าชนิดใด ๆ หรือสวมรองเท้าสลิปเปอร์ ยกเว้นคนทำงานขนของก่อสร้างกวาดล้าง ปรับไม่เกินคราวละ 20 หรือขังบาทไว้ใช้หัวเรื่อง: การไม่เกินคราวละ 15 หรือทั้งการธนาคารวันปรับทั้งขังตามควรแก่โทษถ้าผู้ทำผิดเป็นที่คุณเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีลงไป คุณต้องรับจะโทษแทนทุกประการประกาศเมื่อการธนาคารวันที่ 20 มกราคม ร.ศ. 117 (พ.ศ. 2441) ให้ใช้บังคับตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 117 เป็นต้นไปชุดราชปแตน- เป็นชุดหรือสำหรับเจ้าบ่าวในพิธีหมั้นหรือพิธีมงคลสมรส 8 แต่หลังจากเสด็จประพาสอินเดีย - พม่าในปี พ.ศ. 2414 แล้วมีพระราชดำริว่า ข้างในสวมแล้วยังมีผ้าผูกคออีกด้วยนั้นไม่เหมาะสมกับอากาศร้อนของเมืองไทย 5 เม็ดเรียกว่า "เสื้อราชแปตแตนท์ (RajPattern) ซึ่งต่อมาเรียกเพี้ยนไปเป็น" เสื้อราชปะแตน "ซึ่งแปลว่า" แบบหลวง " ในสมัยนี้ ไม้เท้าซึ่งถือมักจะใช้คล้องแขนจึงเรียกว่าได้ "ไม้ถือ" ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 ๆ คือนุ่งผ้าลอยชาย นิยมใช้ไม่ผ้าแตะบ่าหัวเรื่อง: การนุ่งลอยชายคือ ชายขมวดแล้วค่อนข้างใหญ่พกเหน็บแน่นติดตัวแล้วทิ้งชายห้อยลงไปข้างหน้าหัวเรื่อง: การนุ่งผ้าลอยชายนี้บางคนชอบนุ่งใต้สะดือ ข้างหน้าไว้ทิ้งชายผ้าลงมาเล็กน้อย










การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: